ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ทำไมไต้หวันไม่ยอมอยู่ในอำนาจของประเทศจีน แต่กลับใกล้ชิดกับประเทศญี่ปุ่น
เมืองจีนในการปกครองกษัตริย์จีนแห่งราชวงศ์หมิงกับราชวงศ์ชิง ซึ่งเป็นรัฐกลางไม่ค่อยสนใจเกาะไต้หวัน เพราะไต้หวันอยู่ชายขอบ และเป็นแค่เกาะเล็กนิดเดียว ไต้หวันก็เลยตกอยู่ในสภาพนแบบอาณานิคมอยู่สองครั้ง โดยโดนชาวดัตช์ยึดครองในปี ค.ศ.1624-1662 และเป็นอาณานิคมของประเทศญี่ปุ่นในปี ค.ศ.1895-1945
中國在清朝與明朝期間,並不是太在意台灣,因為台灣地處邊陲,而且只是一個小島,台灣因而在西元1624-1662 及1895-1945 年兩度淪為荷蘭與日本的殖民地。
หากเปรียบเทียบกับประเทศฮอล์แลนด์ ยุคสมัยที่ญี่ปุ่นปกครองไม่เพียงมีระยะเวลานานกว่า แต่ยังก่อให้เกิดประวัติศาสตร์อันสับสนและซับซ้อน แม้ในปัจจุบันคนไต้หวันก็ยังได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมญี่ปุ่นมาโดยตลอด คนไต้หวันนิยมเรียนภาษาญี่ปุ่น ไปเที่ยวญี่ปุ่นอยู่เสมอ ชอบทานอาหารญี่ปุ่น และอื่นๆ อีกมากมาย
與荷蘭的殖民比起來,日治時代不只時間比較長,也造就了一段複雜且難以解釋的歷史,即使至今,台灣仍受到日本文化的長期影響,台灣人流行學日文,喜歡到日本玩,也愛吃日本菜。
นอกจากนั้น คนไต้หวันยังรู้สึกว่าเป็นพี่น้องกันกับชาวญี่ปุ่น หลังจากเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮคุเมื่อปี ค.ศ. 2011 แม้สภาพเศรษฐกิจของไต้หวันจะตกต่ำอยู่ก็ตาม แต่ยังระดมกำลังช่วยเหลือประเทศญี่ปุ่น ให้ฟื้นฟูจากภัยพิบัติที่รุนแรง โดยบริจาคเงินประมาณ 6200 ล้านบาท
除此之外,台灣人也覺得自己和日本人彷彿就是親人,在2011年的318大地震之後,雖然台灣自己的經濟前景也不佳,但仍募集62億捐款至日本,為了讓日本從災害重新站起來。
สมมุติว่ามีคนต่างชาติที่ไม่เคยชินบรรยากาศแบบนั้น ก็มักจะแปลกใจมากกับสภาพนี้ เพราะแท้ที่จริง ลักษณะของอาณานิคมก็คือ การแสวงหาทรัพยากร แล้วส่งไปให้แผ่นดินบ้านเกิดของเจ้าอาณานิคม ทำไมคนไต้หวันยังใกล้ชิดกับญี่ปุ่น ไม่เหมือนความสัมพันธ์อันเป็นศัตรูคู่แค้นกัน เช่นเดียวกับประเทศเกาหลีกับญี่ปุ่นแต่อย่างใด ในขณะเดียวกัน ทำไมคนไต้หวันที่อยากอยู่ร่วมกันกับเมืองจีนมีจำนวนน้อยลงด้วย
假設說有不熟悉這種氣氛的外國人來到台灣,常常都會驚訝於這樣的情況。因為殖民的特色,是去搜括被殖民地的財富然後送回母國,那為何台灣人仍親近於日本,並不像日本與韓國一般有民族仇恨,而在此同時,為何想跟中國統一的台灣人愈來愈少?
สถานการณ์เหล่านี้มีเหตุมีผล เพราะมีแรงบีบจากเมืองจีนเป็นเวลาช้านาน จีนกดดันให้ประเทศอื่นๆก็ไม่ยอมรับว่า ไต้หวันเป็นประเทศอิสระด้วย เมื่อเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาประเทศสากล ไต้หวันจึงร้องเพลงชาติไม่ได้ ยกธงชาติก็ไม่ได้ ถูกตอกย้ำในการแข่งขันแต่ละหน คือประวัติศาสตร์บาดแผลของคนไต้หวันอย่างมีร่องรอย
這些情況有其因果,因為中國一直在國際上打壓台灣,逼使其他國家不願承認台灣是一個獨立的國家,當我們參與國際運動競賽時,台灣無法唱自己的國歌,也無法高舉自己的國旗,這些事在每一次的比賽中都一再被強調,也是台灣人心中關乎歷史的傷口緃橫。
พร้อยด้วยภูมิหลังของ เหตุการณ์ 228 ใน ค.ศ.1947 รัฐบาลก๊กมินตั๋งสังหารผู้อยู่อาศัยไต้หวันเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะชนชั้นปัญญาสูง ในเวลาต่อมา ความสัมพันธ์ระหว่างชาวไต้หวันกับชาวแผ่นดินใหญ่ตึงเตรียดเพิ่มขึ้น และชาวไต้หวันไม่เชื่อถือชาวจีนโดยตลอด
再加上 228事件的來龍去脈,在1947年,國民黨政府殺害了許多台灣人,尤其針對受過教育的高知識份子,此後,台灣人與外省人的關係就變得緊張,而台灣人也一直不相信所謂的中國人。
ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลก๊กมินตั๋งปฏิบัติการควบคุมการพูดอย่างรุงแรง (White Terror) โดยจำคุกผู้ขัดขืนและทรมานพวกเขาจนตาย นอกจากนั้น ยังสั่งให้ชาวไต้หวัน ห้ามพูดภาษาไต้หวัน (ภาษาฮกเกี้ยน) เป็นเด็ดขาด จึงทำให้มีเวลาหนึ่ง คนไต้หวันไม่กล้าพูดภาษาไต้หวันอยู่ข้างนอกบ้านเพราะความกลัว
也因如此,國民黨政府開始了白色恐怖,囚禁及折磨異議人士至死,除此之外,也命令台灣人禁止說台灣方言,於是有段時間,因為恐懼使然,台灣人不敢在外說台灣話。
จากเหตุการณ์ 228 ที่เกิดขึ้น ชาวไต้หวันบางคนก็หวนคิดถึงสมัยญี่ปุ่นปกครอง เอามาเปรียบเทียบโดยคิดว่าไม่ว่าอย่างไรก็ดีกว่าอยู่ในการปกปรองของก๊กมินตั๋ง ความจริงที่ยากจะปฏิเสธก็คือ ญิ่ป่นก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญไว้มากมาย ได้แก่ ระบบรถไฟ น้ำประปา ระบบท่อระบายน้ำ ขนาดทำเนียบประธานาธิบดีไต้หวันในปัจจุบัน ก็เป็นสถาปัตยกรรมในยุคสมัยญี่ปุ่นปกครอง ถึงแม้ว่าการก่อสร้างมากมาย มีเพื่อไว้ขนส่งทรัพยากรธรรมชาติ และป้องกันโรคแพร่ระบาด ยิ่งไปกว่านั้น ผู้อาวุโสไต้หมีจำนวนมาก ยังใช้ภาษาไต้หวันกับญี่ปุ่นในการสื่อสารแทนภาษาจีนที่ใช้ในทางการอีกต่างหาก
228事件後,有些台灣人就開始憶及日治時期,覺得無論如何都比國民黨政府好,無法否認的事實是,台灣許多基礎建設是出自日本人,像是鐵路,自來水,下水道系統,連台灣現在的總統府,都是由日本人所建造而成,即使這些建設的目的是為了要運送台灣的天然資源及預防疾病散布。而至今仍有許多台灣長者在溝通仍使用台語及日語,反而不說所謂的國語。
ความเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์ของไต้หวัน ก็ทำให้เกิดความแตกต่างทางสังคม ซึ่งมีลักษณะที่ประกอบด้วยผู้อพยพในสมัยต่างๆ ถึงแม้ว่าคนไต้หวันส่วนใหญ่เป็นเชื้อชาติเดียวกันกับเมืองจีน แต่ตามกาลเวลาที่ผ่านมา ท้องถิ่นนิยม หรือเรียกว่าความเป็นไต้หวัน กำลังรุ่งเรืองเฟื่องฟู คนที่ยังยึดถือความเป็นจีนอันยิ่งใหญ่น้อยลงอยู่แล้ว ในปัจจุบัน มีเฉพาะกลุ่มเฉพาะหน้ายังสนับสนุนการร่วมกับเมืองจีน เพื่อถือผลประโยชน์ให้นานๆ แน่นๆ จึงให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองซึ่งเป็นเรื่องปกติ แม้ไม่ถึงกับเป็นปัญหาฉกรรจ์ แต่ประชาชนไต้หวันยังติดอยู่ในวงกตแห่งกระแสประวัติศาสตร์ หนีไม่พ้นเลย
台灣歷史的種種變化,也造成社會成員中的差異,有著不同時期來台灣的移民,雖然台灣人大多有著來自中國的血源,但隨著時間經過,地方主義,或者說台灣意識已經相當興盛,如今懷抱大中國主義的人愈來愈少,只有特定族群仍支持與中國統一,當然,這只是為了保有他們的既得利益。於是政治上的紛擾對台灣人是家常便飯,也許未到致命程度,但台灣人民仍卡在歷史之流的小徑裡進退不得。
โดยชาวเกาะมักจะมีอุปนิสัยสองอย่างที่ตรงข้าม ทั้งใจแคบและเปิดใจกว้าง ไต้หวันสามารถเป็นเพื่อนกันกับเจ้าอาณานิคมในอดีตได้ บวกอีกก็ไม่ยอมจำนนต่ออำนาจของประเทศจีน ว่ากันว่า ประวัติศาสตร์จะซ้ำรอย แต่อนาคตของไต้หวันจะเคลื่อนไหวในทิศทางไหน ก็ยังไม่อาจทราบได้
島國人民總是有著兩種截然相反的習性,心胸狹窄,同時又有其寬廣的一面。於是台灣人一方面可以跟曾經的殖民母國日本成為朋友,另一方面又不願屈服於中國強權下。我們常說歷史會一再重覆軌跡,但台灣的未來會走至何方目前仍未可得知。
發表迴響